ชื่อ-สกุล นางสลิลดา มาลัยศรี
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2554 ศิลปมหาบัณฑิต (การออกแบบนิเทศศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ.2549 ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ นฤมิตศิลป์ / ออกแบบพาณิชย์ศิลป์
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย
สลิลดา มาลัยศรี. (นักออกแบบ). (2562). เพราะรัก (Because of Love) [ออกแบบลายผ้า]. ใน รวมบทความ The 1st International Art & Designs Collaborative Exhibition 2019 (IADCE) โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วันที่ 17-24 พฤษภาคม 2562 (น. 391 – 399). ชลบุรี: หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สลิลดา มาลัยศรี. (จิตรกร). (2563). ในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้วยศิลปะโพลีกอน [ภาพวาด]. ใน บทความงานสร้างสรรค์–วิจัย–นวัตกรรม : ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศ “การประชุมวิชาการด้านความก้าวหน้าทางศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบระดับชาติ ครั้งที่ 2” โดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 (น. 329 – 336). ปัตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ตตานี.
ผลงานทางวิชาการลักษณะอื่น (ประเภทงานสร้างสรรค์)
สลิลดา มาลัยศรี. (นักออกแบบ). (2562). เพราะรัก (Because of Love) [ออกแบบลายผ้า]. ใน The 1st International Art & Designs Collaborative Exhibition 2019 (IADCE)โดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วันที่ 17 -24 พฤษภาคม 2562, ชลบุรี: หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สลิลดา มาลัยศรี. (จิตรกร). (2563). ความสัมพันธ์แห่งจิต [ออกแบบลายผ้า]. ใน นิทรรศการ ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์ โดยเพจ Facebook ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์. วันที่ 1-15 เมษายน 2563, กรุงเทพฯ: เพจ Facebook ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์.
สลิลดา มาลัยศรี. (จิตรกร). (2563). ดอกหงอนไก่ไทย [ภาพวาด]. ใน นิทรรศการ ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์ โดยเพจ Facebook ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์. วันที่ 1-15 เมษายน 2563, กรุงเทพฯ: เพจ Facebook ART BRIDGE อาร์ตบริดจ์ ออนไลน์.
สลิลดา มาลัยศรี. (จิตรกร). (2563). ในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้วยศิลปะโพลีกอน [ภาพวาด]. ใน นิทรรศการ The 2nd International Art & Designs Collaborative Exhibition 2020 (IADCE). โดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วันที่ 29 พฤษภาคม 2563, ปัตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี.
ประสบการณ์การสอน
1) วิชาแนวคิด ประเพณีนิยมของท้องถิ่นในงานออกแบบ
2) วิชาความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
3) วิชาการออกแบบอย่างยั่งยืน
4) วิชาโครงการพิเศษออกแบบกราฟิกและอินโฟร์
5) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพออกแบบกราฟิกและอินโฟร์
ภาระงานสอนที่จะมีในหลักสูตรนี้
1) วิชาการถ่ายภาพเชิงพาณิชย์
2) วิชาการออกแบบสื่อสารข้ามสื่อ
3) วิชาภาพยนต์สั้น
4) วิชาธุรกิจกราฟิกดิจิทัล
5) วิชาการออกแบบอย่างยั่งยืน
6) วิชาการสัมมนาทางครีเอทีฟกราฟิก
7) วิชาการวิจัยทางครีเอทีฟกราฟิก
8) วิชาศิลปนิพนธ์ทางครีเอทีฟกราฟิก
9) วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครีเอทีฟกราฟิก